วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

Design Thinking

Design Thinking

Design Thinking → is a Leaning Process

        Design Thinking คือ การคิดเชิงออกแบบ คือการคิดแก้ปัญหาที่สามารถนำไปสร้างสรรค์นวัตกรรมได้ การคิดเชิงออกแบบนั้นต่างจาก “ความคิดสร้างสรรค์”(creativity) คือ Design Thinking จะคำนึงถึงองค์ประกอบ 3 อย่างประกอบกัน คือ การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ และ “คน” การคิดเชิงออกแบบจึงมีอีกชื่อคือ Human centered design ที่คนเป็นศูนย์กลางการแก้ปัญหา โดยเน้นทำความเข้าใจว่าคนต้องการอะไร แทนที่วิธีการแบบเดิมที่มักเริ่มต้นจาก “ปัญหา”





หลักการคิดเชิงออกแบบ

     1. คิดอย่าง "เข้าใจ" (Understand) นั่นคือ การใช้เวลาทำความเข้าใจปัญหาอย่างลึกซึ้ง มีบทบาทมากต่อการกำหนดทิศทางในการแก้ปัญหา การเข้าใจปัญหาที่ถูกต้องและตั้งคำถามที่ถูกต้องเท่านั้นที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาที่ตรงประเด็น 



     2. คิดแบบ "ไม่มีกรอบ" (Brainstorm) แม้เราจะเข้าใจปัญหาอย่างถูกต้องแล้ว อีกอุปสรรคสำคัญที่ทำให้นวัตกรรมใหม่ๆไม่เกิดคือ กรอบความคิดของเรา

     3. คิดเร็ว "ทำเร็ว" (Prototype) แม้ว่าจะได้ไอเดียดีๆมากมาย บ่อยครั้งเราก็ “คิด” แต่ไม่ “ลงมือทำ” 


5 Stages in the Design Thinking Process


     1.เอาในใส่ (Empathy) การทำความเข้าใจต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น การสัมภาษณ์ สุ่มตัวอย่าง การสังเกต หรือ จำลองสถานการณ์
     2.กำหนดปัญหา (Define) ตีความหมายของปัญหาที่เกิดขึ้น
     3. ให้คาวมสำคัญ (Ideate) การรวบรวมมุมมองและใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหานั้นอย่างไม่มีกรอบจำกัด 
     4. ต้นแบบ (Prototype) จำลองสถานกาณ์ของแนวทางการแก้ไขปัญหานั้นขึ้นมา เพื่อสร้างประสบการณ์จากการเรียนรู้จริง
     5. ทอสอบ (Test) การทดสอบกับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อรวบรวม Feedback และข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนาแนวทางต่อไป

วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2561

Chapter 2 Summary

Global E-Business And Collaborations

2.1 BUSINESS PROCESSES AND INFORMATION SYSTEMS

          1. Manufacturing and production ระบบนี้จะรวบรวมข้อมูลการขายในขณะที่การขายเกิดขึ้นเพื่อช่วยให้ธุรกิจสามารถตรวจสอบธุรกรรมการขายและให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการวิเคราะห์แนวโน้มการขายและประสิทธิภาพของแคมเปญการตลาด
          2. Sales and marketing ระบบนี้นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนสินค้าที่มีอยู่ในคลังเพื่อที่จะสามารถสนับสนุนกิจกรรมสำหรับฝ่ายการผลิตและผลิตผล
          3. Finance and accounting ระบบบัญชีลูกหนี้ติดตามและจัดเก็บข้อมูลลูกค้าที่สำคัญเช่นประวัติการชำระเงินการจัดอันดับเครดิตและประวัติการเรียกเก็บเงิน
          4. Human resources ระบบนี้เก็บรักษาข้อมูลเกี่ยวกับพนักงานขององค์กรเพื่อสนับสนุนหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์


2. 2 TYPES OF INFORMATION SYSTEMS  

ระบบสารสนเทศ 4 ชนิดหลัก
          1. Transaction Processing Systems (TPS) หรือระบบประมวลรายการธุรกรรม เป็นการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นการประมวลผลรายการประจำวันเพื่อสนับสนุนหัวหน้างาน
          2. Management Information Systems (MIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อช่วยในการทำงานของผู้บริหารระดับกลาง
          3. Decision Support Systems (DSS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อช่วยในการทำงานของผู้บริหารระดับกลาง
          4. Executive support systems (ESS) หรือระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง ช่วยให้ผู้บริหารระดับสูงเห็นภาพรวมการดำเนินงานของบริษัท และช่วยพัฒนาการวางแผนกลยุทธ์



Enterprise Applications (EA)





          1. Enterprise Systems (ระบบการวางแผนทรัพยากรขององค์กร) บริษัทใช้ enterprise systems หรือที่เรียกว่าระบบ ERP เพื่อรวมกระบวนการทางธุรกิจในการผลิต และการผลิต การเงินและการบัญชี, การขายและการตลาด, และทรัพยากรบุคคลในระบบซอฟต์แวร์เดียวจะถูกจัดเก็บไว้ในที่เก็บข้อมูลอันเดียวที่สามารถใช้งานได้ในหลายส่วนของธุรกิจ
          2. Supply chain management Systems (การจัดการสายโซ่อุปทาน) บริษัทใช้ SCM เพื่อช่วยในการจัดการความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์ ระบบเหล่านี้ช่วยให้ซัพพลายเออร์, บริษัทจัดซื้อ, ผู้จัดจำหน่าย และบริษัทลอจิสติกส์ ได้แบ่งปันข้อมูลเกี่ยวกับการสั่งซื้อการผลิตระดับสินค้าคงคลัง และการส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อให้สามารถจัดหาผลิตและส่งมอบสินค้าและบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
          3. Customer relationship Management Systems (ระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์) บริษัทใช้ CRM เพื่อช่วยในการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า ช่วยให้ข้อมูลในการประสานงานกระบวนการทางธุรกิจทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับลูกค้าในด้านการขายการตลาด และการบริการ เพื่อเพิ่มรายได้ ความพึงพอใจของลูกค้า และการรักษาลูกค้า ข้อมูลนี้ช่วยให้บริษัทสามารถดึงดูดและรักษาลูกค้าที่ทำกำไรได้มากไว้ ให้บริการที่ดีแก่ลูกค้าเดิม และเพิ่มยอดขาย
          4. Knowledge management Systems (ระบบการบริหารจัดการความรู้) ช่วยให้องค์กรสามารถจัดการกระบวนการในการรวบรวมและประยุกต์ใช้ความรู้และความชำนาญได้ดีขึ้น ระบบเหล่านี้รวบรวมความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในบริษัท และทำให้สามารถเข้าถึงได้ทุกที่และทุกเวลาที่ต้องการ เพื่อปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจและการตัดสินใจในการจัดการ




Intranets and Extranets


Intranets (อินทราเน็ต) เป็นเพียงเว็บไซต์ของบริษัทภายในที่สามารถเข้าถึงได้โดยพนักงานเท่านั้น อินทราเน็ตใช้เทคโนโลยีและเทคนิคแบบเดียวกันกับอินเทอร์เน็ตที่มีขนาดใหญ่กว่าและมักเป็นพื้นที่เข้าถึงของเอกชนในเว็บไซต์ของบริษัทขนาดใหญ่ในทำนองเดียวกันกับเอ็กซ์ทราเน็ต


Extranets (เอ็กซ์ทราเน็ต) เป็นเว็บไซต์ของบริษัท ที่สามารถเข้าถึงผู้ขายและซัพพลายเออร์ที่ได้รับอนุญาตและมักใช้เพื่อประสานการเคลื่อนย้ายวัสดุไปยังอุปกรณ์การผลิตของบริษัท



E-business, E-commerce and E-government

        Electronic business หรือ e-business หมายถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตในการดำเนินกระบวนการทางธุรกิจที่สำคัญในองค์กร รวมถึงกิจกรรมเพื่อการบริหารงานภายในของบริษัท และการประสานงานกับซัพพลายเออร์และคู่ค้าทางธุรกิจอื่น ๆ นอกจากนี้ยังรวมถึงการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีคอมเมิร์ซ
        E-Commerce เป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อและขายสินค้าและบริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ยังครอบคลุมกิจกรรมที่สนับสนุนการทำธุรกรรมในตลาดต่างๆ เช่น การโฆษณา การตลาด การสนับสนุนลูกค้า การรักษาความปลอดภัย การจัดส่ง และการชำระเงิน              E -Government คือ การให้บริการของภาครัฐผ่านเครือข่ายอิเลกทรอนิกส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มการเข้าถึงบริการของภาครัฐ เสริมสร้างความโปร่งใสของการดำเนินงานของภาครัฐ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน และทำให้หน่วยงานของรัฐรับผิดชอบต่อประชาชนมากขึ้น

2. 3 SYSTEMS FOR COLLABORATION AND TEAMWORK

What is collaboration  การทำงานร่วมกับผู้อื่นเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกันและชัดเจน การทำงานร่วมกันมุ่งเน้นไปที่ความสำเร็จของงาน

Business Benefits Of Collaboration And Teamwork
          1. ด้านผลผลิต  การทำงานร่วมกันเป็นทีมสามารถดำเนินงานที่ซับซ้อนได้เร็วกว่าคนที่ทำงานเพียงคนเดียว และ มีข้อผิดพลาดในการทำงานน้อยลง
          2. ด้านคุณภาพ  การทำงานร่วมกันเป็นทีมสามารถสื่อสารข้อผิดพลาด และแก้ไขการดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว มากกว่าคนที่ทำงานเพียงคนเดียว ซึ่งนำไปสู่การลดลงของความล่าช้าในการผลิต
          3. ด้านนวัตกรรม  การทำงานร่วมกันเป็นทีมสามารถเกิดความคิดสร้างสรรค์เพิ่มเติม
สำหรับ สินค้า บริการ และการบริหารงาน มากกว่าคนที่ทำงานเพียงคนเดียว
          4. ด้านการบริการลูกค้า การทำงานร่วมกันเป็นทีมสามารถแก้ปัญหาลูกค้าร้องเรียนได้อย่างเร็วและมีประสิทธิภาพมากกว่า คนที่ทำงานเพียงคนเดียว
          5. ด้านผลประกอบการ ( อัตราการขาย, การขาย, การเจริญเติบโต) อันเป็นผลมาจากทั้งหมดข้างต้น การทำงานร่วมกันเป็นทีมทำให้มีความเติบโตของยอดขายและประสิทธิภาพทางการเงินที่เพิ่มขึ้น

เครื่องมือและเทคโนโลยีเพื่อการทำงานร่วมกัน

          1. E-mail and Instant Messaging (IM)
          2. Virtual Worlds
          3. Microsoft SharePoint
          4. Lotus Notes


2.4   THE INFORMATION SYSTEM FUNCTION IN BUSINESS


          1. Chief information officer (CIO) เป็นผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร (Chief Executive Officer : CEO) เกี่ยวกับการพัฒนาและนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ให้การบริหารองค์กรประสบความสำเร็จตามวิสัยทัศน์ และเป้าหมายรวมของหน่วยงานที่กำหนดไว้                    2. Chief security officer (CSO) ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงทางด้านการรักษาความปลอดภัยให้กับโครงสร้างเครือข่ายและความปลอดภัยข้อมูลสารสนเทศ มีหน้าที่ในการจัดการกับปัญหาความปลอดภัย โดยต้องมีความเข้าใจในระบบธุรกิจเป็นอย่างดี และต้องเข้าใจเรื่องของการจัดการกับความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบกับธุรกิจขององค์กรทั้งทางตรงและทางอ้อม
          3. Chief knowledge officer (CKO) ผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์กรที่ทำหน้าที่จัดการระบบของการจัดการความรู้ในองค์กร  หรือเรียกว่า  "ผู้เอื้อระบบ"
          4. End Users กลุ่มผู้ที่ ต้องการเข้าถึงข้อมูล เพื่อทำการดูข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล และจัดทำรายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล


วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2561

Chapter 1 Summary


Information Systems in Global Business Today 

ระบบสารสนเทศในองค์กรธุรกิจ ณ ปัจจุบัน

THE EMERGING DIGITAL FIRM       

Key Corporate Assets ทรัพย์สินหลัก

  • intellectual property ทรัพย์สินทางปัญญา 
  • core competencies ความสามารถในการแข่งขัน
  • financial and human assets การเงินและทรัพย์สินของบุคลากร 
                         are managed through digital means บริหารจัดการด้วยระบบดิจิตอล

What Is an Information System?

     ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ ระบบที่ผ่านกระบวนการกลั่นกรอง หรือประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ เพื่อที่จะสนับสนุนการปฏิบัติงานขององค์กร, การสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร นอกจากนี้ยังช่วยบุคลากรในองค์กรนั้นในการประสานงาน, การวิเคราะห์ปัญหา การสร้างแบบจำลองวัตถุที่มีความซับซ้อน และการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ

     ระบบสารสนเทศ (Information System) ในทางด้านเทคนิค หมายถึง กลุ่มของระบบงานที่ประกอบด้วย Hardware, Software ที่ทำหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ  และแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ และการควบคุมภายในองค์กร

Dimensions of Information Systems



          การใช้ระบบสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพต้องมีความเข้าใจในองค์กรการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างระบบ ระบบข้อมูลสร้างคุณค่าให้กับบริษัทในฐานะที่เป็นโซลูชันการจัดการองค์กร และการจัดการกับคสามท้าทายที่เกิดจากสภาพแวดล้อม


Organizations

  • People ผู้คน
  • Structure โครงสร้างอาคาร
  • Business processes กระบวนการธุรกิ
  • Politics การเมือง
  • Culture วัฒนธรรม


โครงสร้างองค์กร


  • Senior management ทำให้การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ในระยะยาวและสร้างความมั่นใจว่าผลการดำเนินงานของบริษัทจะมีประสิทธิภาพ
  • Middle management ดำเนินแผนการตาม Senior management
  • Operational management ติดตามกิจกรรมประจำวันของบริษัท

                Knowledge workers เช่นวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ออกแบบผลิตภัณฑ์ สร้าง และเผย
แพร่ความรู้ใหม่สำหรับองค์กร

    Data workers เช่นเลขานุการ จะจัดการเอกสารขององค์กร

    Production or service workers ผลิตสินค้าพรือบริการ

Information Technology

  • Computer hardware ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
  • Computer software ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
  • Data management technology เทคโนโลยีการจัดเก้บข้อมูล
  • Networking and telecommunications technology ระบบเครือข่ายและอุปกรณ์สื่อสาร
  • Internet (intranets, extranets) ระบบอินเทอร์เน็ต
  • World Wide Web เว็บไซต์
  • Information technology infrastructure เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็ นโครงสร้างหลักขององค์กร


Contemporary Approaches To Information System



      Technical Approach



  • Computer science : คอมพิวเตอร์ศาสตร์ การคำนวณ วิธีการคำนวณและวิธีการเก็บรักษาและใช้งานข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
  • Management science : ทฤษฎีการบริหารจัดการ การพัฒนารูปแบบจําลองสําหรับกระบวนการตัดสิน ใจ และ การบริหารจัดการองค์กร
  • Operations research : ทฤษฎีวิจัยเพื่อการจัดการ เน้นไปที่เทคนิคด้านคณิตศาสตร์เพื่อการคัดสรรค์ส่วนประกอบขององค์กรอย่างดีที่สุด

     Behavioral Approach


  • Strategic business integration แนวทางการดำเนินธุรกิจในระยะยาว
  • Design การออกแบบ
  • Implementation การปฏิบัติงาน
  • Utilization การใช้ประโยชน์
  • Management การบริหาร

Sociotechnical Systems

  • Suppliers of hardware and software บริษัทที่สนับสนุนด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
  • Business firms องคกรธุรกิจ
  • Managers and employees ผู้บริหารและพนักงาน
  • The firm’s environment สิ่งแวดลอ้มขององค์กร



Design Thinking

Design Thinking Design Thinking → is a Leaning Process         Design Thinking คือ การคิดเชิงออกแบบ คือการคิดแก้ปัญหาที่สามารถนำไปสร้างส...